อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร ประกาศเป็นอทุยาน แห่งชาติเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๒ แรกเริ่มใช้ชื่ออุทยานแห่งชาติหาดทรายรี ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นอุทยานแห่ง ชาติหมู่เกาะชุมพร          เมื่อวันที่๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ ครอบคลุมพื้นที่ ๑๙๘,๑๒๕ ไร่ มีชายหาด ทอดยาวกว่าร้อยกิโลเมตร ส่วนพื้นที่ทางทะเล ประกอบด้วยหมู่เกาะกว่า ๔๐ เกาะ ครอบคลุมพื้นที่ ตั้งแต่เกาะจระเข้ในเขตอำเภอปะทิว จดเกาะง่ามใหญ่ เกาะง่ามน้อย เกาะเสม็ด เกาะมะพร้าว        เกาะมัตราเกาะทองหลาง       เกาะรังกาจิว ในเขตอำเภอเมือง และหมู่เกาะในเขตอำเภอสวี อำเภอทุ่งตะโกจนถึงอ่าวท้องครกในเขตอำเภอหลังสวน บางเกาะ เป็นจุดดำน้ำ เช่น เกาะจระเข้ อยู่ทางตอนเหนือสุด ของอุทยานฯ ที่ทำการอุทยานฯ ตั้งอยู่กลางป่าชายเลน มีอาคารศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเชื่อมด้วยสะพานไม้ทอดยาว และมีสะพานแขวน         เป็นเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ เลียบคลองเข้าไปในป่าชายเลนมีทางเดินแยกหลายเส้นทางเหมาะสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลนหรือจะพายเรือคยักชมป่าชายเลนเป็นกิจกรรมท่อง เที่ยวเชิงนิเวศที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวสัมผัส ธรรมชาติได้อย่างใกล้ชิดการดำน้ำลึกและน้ำตื้น จุดดำน้ำลึกและน้ำตื้นในท้องทะเลชุมพรมีอยู่ด้วยกันหลายจุดตามแนวปะการังในเกาะต่าง      ๆ มักจะพบปะการังดำ (Black Coral)ซึ่งเป็นสัตว์ในกลุ่มกัลปังหามากที่สุดในประเทศไทย   มีถ้วยทะเล (Corallimorph) พรมทะเล(Zooanthid) และดอกไม้ทะเลRead More

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จ.พังงา

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จ.พังงา เป็นหมู่เกาะในทะเลอันดามันห่างจากฝั่งไปทางทิศตะวันตกประมาณ 70 กิโลเมตร เป็นหมู่เกาะที่อยู่ติดกับเขตชายแดนไทย-พม่า มีพื้นที่ประมาณ 84,375 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่บนบกประมาณ 20,594 ไร่ ประกอบด้วยเกาะสำคัญ 5 เกาะ คือ เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ เกาะไข่ (เกาะตอรินลา) เกาะกลาง (เกาะปาจุมบา) และเกาะรี (เกาะสต๊อก) สำหรับคนชอบสนอร์เกิล หรือการดำน้ำดูปะการังน้ำตื้นแล้ว ทุกคนรู้เลยว่าสักครั้งในชีวิตจะต้องฝ่าคลื่นลมกลางทะเล เพื่อมาสัมผัสโลกใต้ผืนน้ำสีครามที่งดงามของหมู่เกาะสุรินทร์ และด้วยความอุดมสมบูรณ์ของแนวปะการังน้ำตื้น ที่มีมากมายทั้งในเกาะสุรินทร์เหนือและเกาะสุรินทร์ใต้ ที่นี่จึงเป็นแหล่งดำน้ำระดับแถวหน้าของเมืองไทย จะเรียกว่าเป็นอีกหนึ่งสุดยอดทะเลไทยก็คงไม่ผิดนัก มองภาพกว้าง หมู่เกาะสุรินทร์มีสภาพที่กำบังคลื่นลมทั้งสองฤดู เนื่องจากเกาะวางตัวเป็นกลุ่มและมีอ่าวขนาดใหญ่ ทำให้เกิดแนวปะการังริมฝั่งอยู่บริเวณโดยรอบทั้งเกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ และเกาะบริวาร นอกเหนือจากการรับอิทธิพลจากคลื่นลมแล้ว สภาพแวดล้อมทางสมุทรศาสตร์ของบริเวณหมู่เกาะเหล่านี้เป็นสภาพแวดล้อมที่เหมาะต่อการพัฒนาของแนวปะการัง คือ น้ำใส อุณหภูมิพอเหมาะ มีแสงแดดส่องถึงในปริมาณที่พอดี และมีการผสมผสานของน้ำที่ได้รับสารอาหารจากมวลน้ำเบื้องล่างที่ปะทะเกาะ ความอุดมสมบูรณ์ของแพลงก์ตอนซึ่งเป็นอาหารสำหรับปลาและสัตว์อื่น ๆ ทำให้ทะเลรอบ ๆ หมู่เกาะสุรินทร์นั้นหนาแน่นด้วยแนวปะการังน้ำตื้นที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมาก จนได้รับยกย่องว่าเป็นแหล่งกำเนิดของแนวปะการังน้ำตื้นขนาดใหญ่และสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ด้วยปัจจัยทางสมุทรศาสตร์ที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ ลักษณะของน้ำขึ้นน้ำลงในทะเลอันดามัน ซึ่งเป็นแบบRead More

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน อยู่ตำบลลำแก่น จังหวัดพังงา ครอบคลุมพื้นที่ ๑๒๘ ตารางกิโลเมตร (๘๐,๐๐๐ ไร่)  ประกาศเป็นเขตอุทยานฯ เมื่อ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๕ คำว่า “สิมิลัน” เป็นภาษายาวี หรือ มลายู แปลว่า เก้า หรือ หมู่เกาะเล็ก ๆ ในทะเลอันดามัน  ๙ เกาะ เรียงลำดับจากเหนือลงใต้ ได้แก่ เกาะบอน เกาะบางู เกาะสิมิลัน เกาะปายู เกาะห้า เกาะเมียง เกาะปาหยัน เกาะปายังและเกาะหูยง หมู่เกาะเหล่า นี่มีความงามทั้งบนบก และใต้น้ำ สามารถดำน้าได้ทั้งน้ำตื้นและน้ำลึกช่วงที่เหมาะสมแก่การท่องเที่ยวมากที่สุด คือเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน และจะประกาศปิดอุทยานฯในช่วงกลางเดือนพฤษภาคม ของทุกปี      สถานที่ท่องเที่ยวภายในเขตอุทยานฯ ได้แก่ เกาะหยูงหรือ เกาะหนึ่ง เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่มี่หาด ทรายขาวสะอาด และยาวที่สุดในเก้าเกาะ ช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์Read More

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร ประกาศเป็นอทุยาน แห่งชาติเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๒ แรกเริ่มใช้ชื่ออุทยานแห่งชาติหาดทรายรี ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นอุทยานแห่ง ชาติหมู่เกาะชุมพร          เมื่อวันที่๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ ครอบคลุมพื้นที่ ๑๙๘,๑๒๕ ไร่ มีชายหาด ทอดยาวกว่าร้อยกิโลเมตร ส่วนพื้นที่ทางทะเล ประกอบด้วยหมู่เกาะกว่า ๔๐ เกาะ ครอบคลุมพื้นที่ ตั้งแต่เกาะจระเข้ในเขตอำเภอปะทิว จดเกาะง่ามใหญ่ เกาะง่ามน้อย เกาะเสม็ด เกาะมะพร้าว        เกาะมัตราเกาะทองหลาง       เกาะรังกาจิว ในเขตอำเภอเมือง และหมู่เกาะในเขตอำเภอสวี อำเภอทุ่งตะโกจนถึงอ่าวท้องครกในเขตอำเภอหลังสวน บางเกาะ เป็นจุดดำน้ำ เช่น เกาะจระเข้ อยู่ทางตอนเหนือสุด ของอุทยานฯ ที่ทำการอุทยานฯ ตั้งอยู่กลางป่าชายเลน มีอาคารศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเชื่อมด้วยสะพานไม้ทอดยาว และมีสะพานแขวน         เป็นเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ เลียบคลองเข้าไปในป่าชายเลนมีทางเดินแยกหลายเส้นทางเหมาะสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลนหรือจะพายเรือคยักชมป่าชายเลนเป็นกิจกรรมท่อง เที่ยวเชิงนิเวศที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวสัมผัส ธรรมชาติได้อย่างใกล้ชิดการดำน้ำลึกและน้ำตื้น จุดดำน้ำลึกและน้ำตื้นในท้องทะเลชุมพรมีอยู่ด้วยกันหลายจุดตามแนวปะการังในเกาะต่าง      ๆ มักจะพบปะการังดำ (Black Coral)ซึ่งเป็นสัตว์ในกลุ่มกัลปังหามากที่สุดในประเทศไทย   มีถ้วยทะเล (Corallimorph) พรมทะเล(Zooanthid) และดอกไม้ทะเล  (Sea         Anemone) มากที่สุดในอ่าวไทย และยังเป็นพื้นที่ที่มีปริมาณและความหลากRead More